Basic Photography ถ่ายภาพเบื้องต้น
- หลักสูตร การถ่ายภาพเบื้องต้น Basic of Photography
- ครูผู้สอน อาจารย์ทศพล กระแสอินทร์ จบทางด้านศิลปะโดยตรง Bachelor of Interactive Media, Sydney ออสเตรเลีย
PEPPADY กราฟิกสคูล เปิดสอนคอร์ส Motion Graphic กราฟิกดีไซเนอร์,ช่างภาพ โดย NOOM_OK เจ้าสำนัก The Filmmaker Studio Co., Ltd. https://www.facebook.com/noomok.ok
เนื้อหาคอร์ส การถ่ายภาพเบื้องต้น Basic of Photography
หัวข้อการสอน
- เรียนรู้ Introduction to Digital camera แนะนำ ทำความรู้จักกับ กล้อง Digital camera, Compact Digital Camera, DSLR และ Digital Mirorless
- เรียนรู้ เซ็นเซอร์รับภาพ Image sensor
- เรียนรู้ สื่อบันทึกภาพ ดิจิตอล เก็บรูปภาพ SD card, Memory Card, CF card, XD Card และ Micro SD
หัวข้อ สำรวจกล้อง ลองใช้งาน
- เรียนรู้ เลือกรูปแบบไฟล์ภาพ
- เรียนรู้ เลือกความละเอียดของภาพอย่างไร
- เรียนรู้ เลือกคุณภาพของภาพอย่างไร
- เรียนรู้ ความสัมพันธ์ของ รูรับแสง และ ความเร็วชัตเตอร์
- เรียนรู้ การวัดแสง ประเภทต่างๆ ในกล้อง
- เรียนรู้ การชดเชยแสง +-EV
- เรียนรู้ การตั้งค่าความไวแสง ISO Sensitivity ค่า ISO จะมีผลกับการคำนวนทุกอย่าง ทั้งการเปิดหน้ากล้องและตั้งความเร็วชัตเตอร์
- เรียนรู้วัตถุที่ไม่อยู่ในกลางภาพทำอย่างไร การวางตามหลักจุดตัด 9 ช่อง
- เรียนรู้ การใช้ ระบบโฟกัสภาพ AF-S และ AF-C กำหนดออปชั่นภายในเมนูกล้อง โหมด P, A, S, Manual
- เรียนรู้ AE-Lock และ AF-Lock ใช้อย่างไร ฟ้งก์ชั่นสำหรับล็อคค่าแสง และ ระยะโฟก้ส
- เรียนรู้ โหมดการถ่ายภาพ การเลือกใช้ โหมดอัตโนมัติAF โหมดโปรแกรมP โหมดปรับรูรับแสงเองAV-Aperture value โหมดปรับความเร็วชัตเตอร์เองSV-Shutter value โหมดปรับตั้งเองManual โปรแกรมถ่ายภาพอัตโนมัติตามสถานการณ์ Scence Mode
- เรียนรู้ การถ่ายภาพต่อเนื่อง CSM ใช้สำหรับถ่ายภาพต่อเนื่องกันเป็นชุด
- เรียนรู้ ระบบถ่ายภาพคร่อม (Auto Bracketing) เพื่อใช้สำรองภาพเสีย หรือเอาไว้เลือกภาพ
- เรียนรู้ ทางยาวโฟกัสของเลนส์และผลต่อภาพ เป็นตัวบอกถึงองศาในการรับภาพ มีผลให้ถ่ายภาพได้มุมกว้าง หรือ แคบ ต่างกัน
- เรียนรู้ ทำอย่างไรให้ได้ภาพชัดตื้น การถ่ายภาพที่ต้องการให้วัตุที่สนใจเด่นสุด หรือลอย ออกมาจากฉากหลัง
- เรียนรู้ Hyper Focus เพื่อภาพชัดลึก ที่เป็นภาพที่ต้องการเก็บลายละเอียดให้ชัดเจนเท่ากันทั้งภาพ
- เรียนรู้ ชนิดของ White Balance และการใช้งานที่เหมาะสม ระบบการปรับสมดุลแสงสีขาว การปรับให้กล้องสามารถบันทึกภาพ ให้มีสีสันถูกต้อง
- เรียนรู้ เปลี่ยนโทนสีของภาพ ด้วย Photo Effect ใช้ฟั่งชั่นเสริม ในการเปลี่ยน โทนสี ของภาพ
- เรียนรู้ แก้ปัญหา Shutter Lag ของกล้อง คือ การเกิดการหน่วงเวลาเพื่อเตรียมความพร้อม ในการทำงานของชัตเตอร์
- เรียนรู้ Optical Zoom VS Digital Zoom คือการซูม หรือ ดึงภาพ จากระยะไกลเข้ามา
- เรียนรู้วิธีการระบบ โหมดการถ่ายภาพเคลื่อนไหว จากกล้องถ่ายภาพนิ่ง การปรับความละเอียดของภาพ มีผลต่อความยาวของ ภาพวิดีโอที่บันทึก
- เรียนรู้ การประหยัดพลังงานของกล้อง เช่น ตั้งเวลาปิดกล้องอัตโนมัติ เมื่อไม่ได้ใช้งาน วิธีใช้จอ LCD เท่าที่จำเป็น
- เรียนรู้ การยืด อายุแบตเตอรี่ เช่น หากไม่ได้ใช้กล้องเป็นเวลานานๆ ให้ถอดแบตเตอรี่ออก อย่าเก็บแบตเตอรี่ไว้ในอุณภูมิสูงๆ
- เรียนรู้ วิธี การจับถือกล้องให้นิ่งมั่นคงเวลา ถ่ายภาพ เพื่อลดการสั่นไหว ของภาพในขณะใช้มือถือกล้องถ่ายภาพ
ระบบ แฟลซ มีกี่ประเภท และ การใช้ แฟลซ เป็นแหล่ง กำเนิดแสง
- เรียนรู้ ค่าความสว่างเมื่อไม่ได้ใช้ แฟลซ
- เรียนรู้ การถ่ายภาพยามค่ำคืนด้วยโหมด Slow sync Flash ในกล้อง เพื่อใช้แฟลซร่วมกับ การลดความเร็วชัตเตอร์
- เรียนรู้ แฟลซ ลบเงา ที่เรียกว่า Fill-in-Flash
- เรียนรู้ การBounceแฟลซคือการยิงแสงแฟลซให้สะท้อนกับ วัตถุอื่น ทำให้แสงนุ่มนวลลง
- เรียนรู้ การใช้แฟลซ กับภาพถ่าย มาโคร
- เรียนรู้ แฟลซ Built-in-Flash, Pop-up Flash และ Flash แยกอิสระ จากตัวกล้อง พร้อม เทคนิค การจัดวาง Flash
- เรียนรู้ ใช้แฟลซ ทำเทคนิคภาพน้ำกระเด็น ถ่ายหยดน้ำ เทคนิคหยุดการเคลื่อนไหว ของน้ำ
หัวข้อ การจัดองค์ประกอบภาพ มุมมอง กับ การถ่ายภาพ Composition
- เรียนรู้ การใช้เส้นนำสายตา มาสร้างความลึกให้กับภาพ ช่วยสร้างมิติให้กับภาพ
- เรียนรู้ หลักการ ถ่ายภาพ “เล่นกับเงาสะท้อน” ของกระจก หรือ วัตถุ ที่มีพื้นผิวที่มันวาว เพื่อสร้างเอ็ฟเฟ๊ค ให้ภาพ
- เรียนรู้ หลักการ ถ่ายภาพน่ามอง ด้วยจุดตัด 9 ช่อง และ กฎ 3 ส่วน การวาง วัตถุที่สนใจ ลงบน จุดตัดต่างๆ ตามทษฎี ที่ไม่ใช่ จุด โฟก้สกึงกลางภาพ
- เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพPattern ซึ่งเป็น การจัดองค์ประกอบภาพให้มีลักษณะ ซ้ำๆกัน ของวัตถุที่จะถ่าย ช่วยให้ภาพ ดูน่าแปลกตาออกไป น่าสนใจ
- เรียนรู้ หลักการ ถ่ายภาพ เงาดำ โครงร่างของวัตถุ Silhouette
- เรียนรู้ หลักการ ฝึกสร้าง Foreground คือฉากหน้าให้กับภาพ ก็คือองค์ประกอบที่อยู่ก่อนถึงจุดโฟกัส (สิ่งที่น่าสนใจ) เพื่อช่วยเสริมเรื่องราว ให้ดูมี มิติ มากขึ้น
- เรียนรู้ หลักการ สร้างรายละเอียด ของฉากหล้ง Background โดยใช้เทคนิค ชัดลึก Depth of field ความแตกต่างของ F.stop รูรับแสง
- เรียนรู้ หลักการ มุมกด หรือ มุมเงย Low Angel & High Angel และเทคนิค การถ่ายภาพ แบบ Tilt-Shift
- เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพ เคลื่อนที่ด้วยชัตเตอร์ต่ำ จะทำห้เห็นการเคลื่อนที่ ของวัตถุ การปรับขนาดรูรับแสงให้แคบลง เช่น F/8 ขึ้นไป การลดค่า ISO ความไวแสงให้ต่ำลง
- เรียนรู้ หลักการ หยุดการเคลื่อนที่ด้วย ชัตเตอร์ความเร็วสูง High Shutter Speed
- เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพ ระเบิดซูม ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้กับความเร็ว ชัตเตอร์ต่ำๆ ลักษณะภาพจะมีการเคลื่อนไหวออกจากตัวแบบ หลักการกดชัตเตอร์ พร้อมกับหมุนวงแหวนซูมที่เลนส์เพื่อเปลื่ยนทางยาวโฟก้ส
- เรียนรู้ หลักการ ใส่กรอบให้กับภาพถ่าย นั่นก็คือ เทคนิค การใช้องค์ประกอบภาพมาสร้างเป็นกรอบของภาพ เพื่อเพิ่มจุดเด่น และ ลดพื้นที่ว่าง ของภาพ
- เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพให้มี สีสัน สดใส โดยใช้ โหมด Photo Effect เช่น Picture Style, Vivid ปรับคอนทราสต์ ให้สูงขึ้น ช่วยให้สีอิ่มตัวขึ้น ส่วนที่เป็นเงาจะชัดเจนขึ้นด้วย
- เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพ ขาว-ดำ Black&White การเลือกช็อตถ่าย องค์ประกอบ ในภาพที่มี สีเทากลาง ค่า18% ที่แตกต่างชัดเจน พร้อม การทำ WorkShop
- เรียนรู้ หลักการถ่ายภาพ ย้อนแสง ในงาน ภาพบุคคล Portrait
#จบคอร์ส ได้ผลงานตนเอง ไปหนึ่งชิ้น และมีโอกาศฝึกงานกับ The FilmMaker Studio Co., Ltd.
#แล้วโลกการออกแบบของคุณจะเปลี่ยนไปตลอดกาล
ในแต่ละรอบของการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติไปด้วยในแต่ละหัวข้อ เน้นผู้เรียนกลุ่มเล็กเพื่อให้ผู้เรียนสามารถสอบถามแบบใกล้ชิดกับอาจารย์ผู้สอน จึงมั่นใจได้ว่า ท่านจะเข้าใจหลักการถ่ายภาพ หลักการใช้งาน รวมทั้งวิธีการใช้งานกล้อง DSLR ของท่านได้อย่างครบถ้วน และไปใช้งานจริงได้อย่างถูกต้อง
ทางเรามีเอกสารประกอบการเรียนโดยเป็นการสรุปรายละเอียดในทุกเนื้อหาไว้ให้ พร้อมทั้งอุปกรณ์สำหรับทำ Workshop ในแต่ละหัวข้อ เพื่อให้เรียนสนุกไม่น่าเบื่อ และนำเสนอเนื้อหาภาคทษฎีและมีรูปภาพตัวอย่างประกอบทุกหัวข้อ ผ่านทางหน้าจอขนาดใหญ่
ตัวอย่าง รุ่นกล้อง DSLR บางส่วน
กล้อง Canon (450D, 500D, 550D, 600D, 650D, 700D, 750D, 760D, 100D, 1200D,
60D, 70D, 7D, 6D, 5D, 1D, Kiss ทุกรุ่น, PowerShot)
กล้อง Nikon (D3000-D3300, D5000-D5500, D60-D90, D7000-D7200, D500,
D600-D610, D750, D800-D810)
กล้อง Olympus (STYLUS 1, SP-100EE)
กล้อง Fujifilm (Fujiflime X-S1)
กล้อง Panasonic (Lumix ทุกรุ่น)
กล้อง PENTAX (DSLR ทุกรุ่น)
กล้อง Sony (DSLR ทุกรุ่น)
ตัวอย่าง รุ่นกล้อง Mirrorless บางส่วน
กล้อง Fujifilm (X-A1, X-A2, X-M1, X-E1, X-E2, X-T10, X-T1, X-Pro1, X-Pro2, X-30, X100T)
กล้อง Olympus (OM-D E-M1, E-M5, E-M10, PEN E-P3, E-P5, E-PL5-7, E-PM2)
กล้อง Sony (a5000, a5100, a6000, a7, Alpha NEX-7)
กล้อง Panasonic (Lumix ทุกรุ่น)
กล้อง Canon (EOS M, EOS M2, EOS M3, G11, G12, G15, G16)
กล้อง Nikon (Nikon 1 J1-J5, Nikon 1 V1-V3, Coolpix)
กล้อง PENTAX
กล้อง Canon (EOS M, EOS M2, EOS M3, G11, G12, G16)
กล้อง Nikon (Nikon 1, Coolpix)
กล้อง PENTAX